วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

โคมไฟกะลามะพร้าว

รายงาน การศึกษาค้นคว้าอิสระ
การศึกษาโครงงานโคมไฟกะลามะพร้าวประหยัดพลังงาน
จัดทำโดย
1...ณัฐพล    เรืองขำ       .2/3   เลขที่ 3
      2.ด.ช.ยศดนัย    ยอดดำเนิน      .2/3   เลขที่ 9
    3...มหิธร     สุขตาอยู่       ม.2/3   เลขที่ 16

คุณครูที่ปรึกษา
คุณครู นงนุช   แก้วจงประสิทธิ์
คุณครู ภาวิณี   โกสินทร
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาโรงเรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (I22202)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ


คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (I22202) เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องโคมไฟกะลามะพร้าวประหยัดพลังงาน ซึ่งคณะผู้จัดทำได้จัดทำเพื่อครู  นักเรียน  และผู้ที่สนใจได้ใช้เป็นเอกสารอ่านเพิ่มเติมต่อไป
      คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า  รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเรื่องโคมไฟกะลามะพร้าวประหยัดพลังงาน ซึ่งทำให้ทราบถึง การใช้กะลามะพร้าวมาใช้ทำประโยชน์ ที่ได้วิเคราะห์ให้ผู้อ่านนำมาใช้ประโยชน์ได้ต่อไป หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ











.
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์  นงนุช    แก้วจงประสิทธ์  และอาจารย์ ภาวิณี    โกสินทร    ที่ให้คำแนะนำในการทำโครงงานวิชา วิทยาศาสตร์นี้  ที่ทำให้ผมเข้าใจมากยิ่งขึ้นและลุล่วงไปด้วยดี และคุณแม่ ของ  ด.ช.  ณัฐพล   เรืองขำ   ที่เอื้อเฟื้อในการประดิษฐ์ผลงานชิ้นนี้ ประสบความสำเร็จไปด้วยดี และสุดท้ายนี้ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการ  นาย   ประสิทธิ์   ทองเพียรพงษ์  เป็นอย่างสูง  ที่ได้เอื้อเฟื้อสถานที่ในการศึกษาค้นคว้าในการประดิษฐ์ผลงานชิ้นนี้ที่ลุล่วงไปด้วยดี













.
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้า  เรื่อง การศึกษาโครงงานขมิ้นและน้ำผึ้งเพื่อผิวพรรณ
รายวิชา  I22202 วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ ปีการศึกษา  2556
คณะผู้จัดทำ
1.ด.ช.ณัฐพล    เรืองขำ       ม.2/3   เลขที่ 3
 2.ด.ช.ยศดนัย    ยอดดำเนิน      ม.2/3   เลขที่ 9
3.ด.ช.มหิธร     สุขตาอยู่       ม.2/3  เลขที่ 16
สถานศึกษา  โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ   สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์     นงนุช     แก้วจงประสิทธิ์
สถานศึกษา     โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ
จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์   เรื่อง     โคมไฟกะลามะพร้าว
จัดทำขึ้นเพื่อความสะดวกสบายในการปิด-เปิด     ซึ่งเป็นการสะดวกและรวดเร็วสำหรับคนที่อาศัยอยู่ในชุมชน   โดยหาพันธุ์กะลามะพร้าวที่สวยและเหมาะสมมาทำแล้วนำมาประกอบเข้ากันก็เสร็จเรียบร้อย




1
บทที่1
1.ความเป็นมาของโครงการ
โคมไฟ เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับอ่านหนังสือ แต่ปัจจุบันคนไทยนิยมบางคนนำโคมไฟมา เป็นเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้านซึ่งโคมไฟจะมีรูปที่แต่งต่างกันออกไปตามแต่วัสดุที่นำมาประดิษฐ์ การผลิตโคมไฟสามารถใช้วัสดุได้หลายชนิด เช่น พลาสติก เหล็ก หรืออะลูมิเนียม ซึ่งมักจะมี ราคาแพง แต่ความเป็นจริงแล้วโคมไฟสามารถผลิตจากวัสดุอย่างอื่นได้ ไม่ว่าจะเป็น กะลามะพร้าว ไม้หรือส่วนประกอบของต้นไม้ เช่น รากไม้ กิ่งไม้ เป็นต้น
เมื่อกล่าวถึงกะลามะพร้าว ซึ่งเป็นส่วนประกอบของมะพร้าว สามารถนำมาประดิษฐ์ เป็นโคมไฟได้ จึงเกิดประกายในการน ากะลามะพร้าวซึ่งมีความสวยงามในด้านความเป็นมัน วาวของตัวมันเองมาใช้ประโยชน์ตรงนี้ โดยการนำความสวยงามในตัวขัดมันของกะลามะพร้าว มาขับแสงไฟให้เกิดความสวยงามมาประดิษฐ์เป็นโคมไฟสวยงาม มาใช้ประโยชน์ตามต้องการ ได้
ดังนั้นการท าโคมไฟก็เป็นงานที่สร้างอาชีพให้กับผู้ที่จุดประกายในด้านนี้ และ มี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นทุนเดิมอยู่แล้วประดิษฐ์โคมไฟจากกะลามะพร้าวมาจำหน่าย ให้กับผู้ที่รักการประดิษฐ์สิ่งของจากธรรมชาติ
2.วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระ
1.เพื่อศึกษาขั้นตอนในการทโคมไฟกะลา
2.เพื่อให้เกิดประสบการณ์ในการทโคมไฟกะลา
3.เพื่อน าสิ่งของเหลือใช้มาทำให้เกิดมูลค่า
4.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5.เพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการดำเนินงาน
6.เพื่อให้เกิดประสบการณ์ด้านการขาย และการทำบัญชี

                                                                                                                                                                        2
3.สาเหตุและสมมุติฐาน
การตั้งปัญหา
1.  โคมไฟกะลามะพร้าวมีประสิทธิภาพ  มากหรือน้อยกว่าโคมไฟในท้องตลาดหรือไม่
การตั้งสมมุติฐาน
1.   ถ้าโคมไฟกะลามะพร้าวมีผลต่อการประหยัดพลังงาน  ขึ้นอยู่กับวัตถุของโคมไฟ
4.ขอบเขตการศึกษาค้นคว้าอิสระ
การทำโคมไฟกะลา เป็นการพัฒนา มุ่งสร้างผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปเพื่อสร้างจุดเด่น และเพิ่มมูลค่าของโคมไฟกะลาให้มีราคาสูงขึ้น
5.วิธีดำเนินการ
1.ศึกษาขั้นตอนการทโคมไฟกะลา
2.เสนอโครงการวิชาชีพ
3.ออกแบบผลิตภัณฑ์
4.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
5.ลงมือปฏิบัติงาน
6.จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
7.สอบถามความพึงพอใจของลูกค้า
8.จัดทำรายงานโครงการ
9.สอบโครงการวิชาชีพ
3         
6.ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้โคมไฟที่ประหยัดพลังงาน และได้ใช้จ่ายอย่างประหยัด
7.สถานที่ดำเนินงาน
บ้านของเด็กชาย ด.ช.  ณัฐพล   เรืองขำ  













4.
8.แผนการดำเนินการ

ที่

กิจกรรมที่ต้องดำเนินการหรือปฏิบัติ

วัน/เดือน/ปี
1.

คิดเรื่องที่จะศึกษา
21/พ.ค./2556
2.

วางแผนการปฏิบัติ
05/มิ.ย./2556
3.

ศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

11/มิ.ย./2556
4.

เขียนเค้าโครงโครงงานที่จะศึกษา

09-20/ส.ค./2556
5.

วางแผนดำเนินโครงงาน

01-04/ก.ย./2556
6.

ทำการทดลอง

01-04/ต.ค./2556
7.

สรุปและอภิปรายผลการดำเนินโครงงาน

21-22/ธ.ค./2556
8.

จัดทำรูปเล่ม

14-19/ม.ค./2556


5.
บทที่ 2
เอกสารอ้างอิง
พันธุ์มะพร้าว   จำแนกตามขนาดของต้น แบ่งได้ดังนี้   1. มะพร้าวเบา (มะพร้าวเตี้ย) ลำต้นเล็ก ใบสั้น ผลมีขนาดเล็ก อายุตั้งแต่ปลูก จนถึงออกผล 3-5 ปี    2. มะพร้าวกลาง (หมูสี หมูสีกลาย) ลำต้นโตกว่ามะพร้าวเบา ทางใบยาว ให้ผลมากกว่ามะพร้าวเบา อายุ 4-5 ปี จึงให้ผล   3. มะพร้าวใหญ่ ลำต้นขนาดใหญ่ ใบยาว ผลใหญ่ อายุ 5-6 ปี จึงจะออกผล ใช้เนื้อขูดคั้นกะทิปรุงอาหารคาวหวาน ปัจจุบันนิยมปลูกกันน้อยกว่ามะพร้าวกลาง


1. มะพร้าวผลใหญ่  ผลใหญ่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-20 นิ้ว ส่วนที่เป็นกะโหลกกะลา 8-10 นิ้ว ผู้หญิงเห็นแล้วไม่อยากขูดเนื้อด้วยกระต่ายขูดมะพร้าว เนื่องจากความใหญ่โตผิดธรรมดา จับถือไม่ถนัดมือ พบที่บ้านนายชุ้น วัฒนะ หลังวัดทด (ราษฎรเจริญมณีฤทธิ์ ต.บางตีนเป็ด อ.เมือง จ. ฉะเชิงเทรา)

2. มะพร้าวเปลือกบาง   เป็นมะพร้าวกลาง ส่วนที่เป็นกาบมะพร้าว (เปลือกชั้นกลาง) หนาเพียงหนึ่งเซนติเมตร ได้พันธุ์มาจากคุณประดับ กาญจนวัฒน์ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

3. มะพร้าวกินเปลือก   ส่วนของเปลือกชั้นกลาง (กาบ) ขณะยังอ่อนอยู่ รับประทานได้คล้ายมันแกว

4. มะพร้าวน้ำหอมอย่างเผือก   น้ำมีกลิ่นหอกคล้ายเผือก พบในงานเกษตรแห่งชาติที่บางเขน เมื่อหลายปีก่อน แต่ในปัจจุบันนี้เหลือต้นน้อยแล้ว

5. มะพร้าวน้ำซ่า   เหมือนน้ำสไปรท์ น้ำมีรสซ่าหวานคล้ายน้ำอัดลมสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เข้าใจว่าคงสูญหายพันธุ์ไปแล้ว

6. มะพร้าวน้ำหอมอย่างใบเตยหอม   น้ำหอมเหมือนใบเตย พันธุ์ต้นแม่อยู่ทีอำเภอบางคล้า อายุราว 70 ปี นายก๊ก แซ่ตั๊น ได้นำมาปลูกไว้ที่สวนวัดสัมปทวนนอก ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว เนื่องจากให้เช่าเลี้ยงกุ้งกุลาดำ และปัจจุบัน นายสุดใจ ตระกูลศุภชัย ได้นำพันธุ์มาปลูกไว้ใหม่จำนวน 10 ต้นและได้เพาะพันธุ์ขายด้วย ลักษณะพิเศษของมะพร้าวพันธุ์นี้ เวลาแก่เนื้อจะนิ่ม ไม่แข็งเหมือนมะพร้าว ทั่ว ๆ ไป ใช้ย่างทำขนมจากได้อีกด้วย


6
7. มะพร้าวเหลือง   ทางเหลือง ลูกเหลือง เหมาะที่จะปลูกเป็นไม้ประดับ

8. มะพร้าวไฟ (นาฬิเก)   ทางแดง ลูกแดง แพทย์แผนโบราณใช้น้ำเป็นกระสายยารักษาโรคเครียด

9. มะแพร้ว   ทุกคนจะรู้จักมะพร้าว แต่เชื่อว่าคนส่วนมากไม่เคยรู้จัก ไม่เคยเห็นมะแพร้ว ลักษณะทั่วไปคล้ายมะพร้าว ต่างกันตรงที่มะแพร้วออกผลคล้าย ตาลโตนด ไม่มีแง้ (หางหนู) ผลค่อนข้างยาว (ทุย) ขั้วผลลีบ ผู้สนใจอยากรู้จักมะแพร้วไปดูได้ที่หลังกุฎิวัดแจ้ง อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา

10. มะพร้าวพวงร้อย    เป็นมะพร้าวเบา ทลายหนึ่ง ๆ มีผลนับร้อย ๆ ผล ประมาณ 100 ถึง 400 ผล พบครั้งแรกเมื่อ 37 ปี ที่ตำบลบ้านสวน อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เจ้าของคือ คุณลุงของนายสุดใจ ตระกูลศุภชัย ซึ่งคุณลุงเล่าให้ฟังว่าเห็นลอยน้ำมา จึงเอาไปวางไว้ข้างเหล้าหมู และงอกมีผลออกจำนวนมาก จึงเป็นต้นพันธุ์ที่เกิดมาจากตำบลบ้านสวน อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลมะพร้าวที่สมบูรณ์ คือเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5-4 เซนติเมตร มีเนื้อและน้ำตามส่วนและขนาดผล เหมาะที่จะทำมะพร้าวสังขยา ห่อหมกมะพร้าว










7.
บทที่ 3
         การทดลอง
วัสดุ/ อุปกรณ์ในการทโคมไฟกะลา
1.กะลามะพร้าว
2.รากไม้
3.หลอดไฟ
4.สายไฟ
5.สวิตซ์+ปลั๊กไฟ
6.แลคเกอร์ (สำหรับเคลือบเงา)
6.กระดาษทราย
7.กาวตราช้าง
8.เลื่อยฉลุ
9.สว่านเจาะ
10.เครื่องขัดไม้(ลูกหมู) หรือหินเจีย
11.บุ้งขัดไม้
12.ตะปู
13.ดินสอ / วงเวียน
14.เทปพันสายไฟ
          8                       
ขั้นตอนการทำ
1.   ขัดกะลามะพร้าวด้วยกระดาษทราย
2.   นำกะลามะพร้าวมาเจาะรู  ให้เป็นรูปต่างๆ
3.   นำแผงมาประกอบเข้ากับสายไฟ
4.   นำหลอดไฟมาประกอบเข้ากับกะลามะพร้าว
5.   นำกล่องพลาสติกมาประกอบกับแผงวงจร
6.   นำสเปรย์เคลือบเงามาพ่น
7.   นำอุปกรณ์ทุกอย่างมาประกอบให้เข้ากัน










9             
                                                                                    บทที่  4

ผลการทดลองสรุปได้ดังนี้

1.  โคมไฟกะลามะพร้าวได้นำเอาวงจรมาติดเข้ากับตัวโคมไฟ  โดยใช้หลักในการสะเทือนจึงเกิดเสียงขึ้น ทำ          ให้โคมไฟนั้นมีแสงสว่างติดขึ้น

2.  เครื่องแปลงไฟมาเชื่อมติดกับแผงวงจร  และนำสายไฟมาติดกับแผงวงจร

3.  นำท่อแป๊บมาประกอบเข้าฐาน และนำเชือกมาพันท่อแป๊บ และนำสายไฟสอดเข้าไปในท่อ นำ
ขั้วหลอดไฟมาประกอบเข้าด้วยกัน

4.  เสียบปลั๊กแล้วใช้การสั่นสะเทือนจึงทำให้ไฟติด





                                                                                                                                                                         
                                                                                                                                                                      10
                                                                          
บทที่5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุป
จากการท าโครงการวิชาชีพโคมไฟกะลา ผู้จัดทำโครงการได้รับความรู้และประสบ ผลสำเร็จดังนี้
1.รู้จักขั้นตอนในการท าโคมไฟกะลา
2.มีประสบการณ์ในการท าผลิตภัณฑ์โคมไฟกะลาได้
3.สามารถนำสิ่งของเหลือใช้มาทำให้เกิดมูลค่า
4.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5.มีรายได้เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน
6.มีประสบการณ์ด้านการขาย และการทำบัญชี
ข้อเสนอแนะ
ต้องต่อวงจรให้ถูกต้องเพื่อป้องกันการลัดวงจรอาจทำให้อุปกรณ์เสียหายได้





.

ภาคผนวก



                                                                                                                                                             11
บรรณานุกรม
โคมไฟกะลา.//สืบค้นเมื่อ  12 มกราคม 2557 ./////////http://share.pdfonline.com/ff59ca8c3efd4e49aec62bd6a2896b4b/pro.htm
โคมไฟกะลามะพร้าว.//สืบค้นเมื่อ  12 มกราคม 2557 ./////////http://13497rongrutsamee.blogspot.com/
ขั้นตอนการทำโคมไฟจากกะลามะพร้าว.//สืบค้นเมื่อ  12 มกราคม 2557.//////////http://hattaya-pin.com/398440
โคมไฟจากกะลามะพร้าว.//สืบค้นเมื่อ  12 มกราคม 2557./////////http://www.l3nr.org/posts/525761
โคมไฟจากกะลามะพร้าว.//สืบค้นเมื่อ  12 มกราคม 2557./////////http://aphiwatadam.blogspot.com/
การประดิษฐ์โคมไฟจากกะลามะพร้า.//สืบค้นเมื่อ  12 มกราคม 2557.///////////http://www.thaigoodview.com/node/113043










สารบัญ
           เรื่อง                                                                                                                  หน้า

            กิตติกรรมประกาศ                                                                                            ก.

             บทคัดย่อ                                                                                                           ข.

             บทที่ 1                                                                                                               1.

             บทที่ 2                                                                                                               5.

             บทที่ 3                                                                                                               7.

             บทที่ 4                                                                                                                     9

              บทที่ 5                                                                                                                            10                         

             บรรณานุกรม                                                                                                    11

              ภาคผนวก                                                                                                         ค.